วันพุธที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ตัวอย่าง

ตัวอย่างที่ 6.8และ 6.9 จะแสดงวิธีการแก้ปัญหาด้วยโครงสร้างการโปรแกรม โดยแสดงแนวคิดวิธีการแก้ปัญหาทั้งในรูปของรหัสลำลองและผังาน

ให้แสดงการวิเคราะและกำหนดรายละเอียดของปัยหา พร้อมทั้งเขียนรหัสลำลองและผังงานเพื่อถ่ายทอดความคิดขั้นตอนวิธีการเล่นเกมทายตัวเลข โดยให้ผู้เล่นคนหนึ่งเป็นผู้กำหนดตัวเลขแล้วให้ผู้ทายทายตัวเลขได้ครั้งหนึ่ง โปรแกรมจะตรวจคำตอบ และแสดงผลลัพธ์ว่าทายถูกหรือผิด
องค์ประกอบหรือขั้นตอนการวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหาสามารถแสดงได้ดังนี้

   

เกมทายตัวเลขในตัวอย่างที่ 6.8 ยอมให้ผู้เล่นทำการทายได้เพียงครั้งเดียว ให้นักเรียนเขียนรหัสลำลองและผังงาน เพื่อถ่ายทอดความคิดขั้นตอนวิธีในการเล่นเกมทายตัวเลขที่ได้รับการปรับปรุง โดยโปรแกรมจะตรวจสอบตัวเลขที่ทายว่า มีค่าสูงหรือต่ำกว่าค่าที่กำหนดแล้วให้โอกาสผู้เล่นทายใหม่จนกว่าจะถูก 
องค์ประกอบของขั้นตอนการวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหาแสดงได้ดังนี้
 

จากรายละเอียดของปัญหา สามารถเขียนเป็นขั้นตอนของรหัสลำลองได้ดังนี้
 

 
 

ในการออกแบบขั้นตอนการทำงานเพื่อให้สามารถถวนรอบให้ผู้ทายทำการทานได้ หลายครั้งจนกว่าจะถูกนั้น จะพบว่าเป็นการใช้การวนซ้ำแบบ while ที่มีการตรวจสอบการวนรอบในส่วนต้นก่อนการทำงานภายในของการวนรอบ โดยทั่วไปเราสามารถดัดแปลงแก้ขั้นตอนวิธีที่ใช้การวนซ้ำแบบ while  เพียงเล็กน้อยเพื่อให้ใช้การวนซ้ำแบบ until ที่มีการตรวจสอบการวนรอบเมื่อจบการทำงานภายในของการวนรอบ

 

รหัสลำลองและผังงานที่ทำงานเช่นเดียวกับตัวอย่างที่ 6.9  ซึ่งใช้การวนซ้ำแบบ until
       

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น